เกมมีความสำคัญต่อการเรียนรู้ของเด็กอย่างมาก ถือว่าเป็นกุญแจดอกสำคัญที่จะนำไปสู่กระบวนการเรียนรู้ของเด็กในอนาคต ดังนั้นถ้าพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูได้เข้าใจและสามารถนำของเล่นหรือกิจกรรมการเล่นไปใช้กับเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว ทักษะพัฒนาการและการเรียนรู้เด็กจะก้าวไปอย่างมีคุณภาพยิ่งขึ้น ซึ่งเมื่อเด็กมีพื้นฐานทางพัฒนาการที่ดีและเหมาะสมกับวัย เด็กจะสามารถนำประสบการณ์ต่าง ๆ ที่ผ่านมาไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ในอนาคตได้อย่างมีคุณภาพ ความหมายของการเล่นการเล่นเป็นกิจกรรมการเรียนรู้และเป็นตัวกระตุ้นให้เด็กเกิดการรับรู้ที่ดี ตลอดทั้งให้เด็กได้เรียนรู้ตัวเองและบุคคลอื่นโดยไม่รู้ตัว และนอกจากนี้การเล่นยังมีผลต่อพัฒนาการทางสมอง และระบบประสาทอีกด้วยประโยชน์ของการเล่น1. ช่วยเสริมสร้างให้เด็กมีพัฒนาการในทุกด้า2. ช่วยเสริมสร้างการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 53. ช่วยพัฒนาด้านสติปัญญา เสริมสร้างจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์4. ช่วยพัฒนาความสามารถในด้านการสื่อสาร โดยเฉพาะคำศัพท์5. ช่วยเสริมสร้างความมั่นใจในตัวเอง6. ช่วยเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่ดีทางสังคม เช่น การแบ่งปัน (sharing) การผลัดเปลี่ยน (turn taking) การช่วยเหลือ (co-operation) การอดทนต่อการรอคอยความยืดหยุ่น (flexibility)7. ช่วยเสริมสร้างให้เด็กรู้จักตนเองได้ดีขึ้นซึ่งจะนำไปสู่ความสำเร็จที่ได้กระทำ8. ช่วยเสริมสร้างสุขภาพจิตและอารมณ์ที่ดี9. ช่วยพัฒนาและส่งเสริมบทบาททางเพศ และบทบาทสมมติ10. ช่วยพัฒนาและเสริมสร้างความสนใจและสมาธิพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กวัย ๑-๓ ปีเด็กในวัยนี้ สามารถทำกิจกรรมต่าง ๆ หลากหลาย เป็นวัยแห่งการเรียนรู้ การค้นหา รวมทั้งมีศักยภาพทางพัฒนาการในทุกด้านที่ค่อนข้างจะสมบูรณ์ขึ้น กล่าวคือ ทักษะด้านการเคลื่อนไหว เด็กสามารถเดินได้คล่อง เดินขึ้น-ลงบันไดได้เอง กระโดด ปีนป่ายได้ ทักษะการใช้นิ้วมือ ความคล่องตัว และแม่นยำในการทำงานมากขึ้น ทักษะทางด้านภาษา สามารถโต้ตอบด้วยคำพูดเป็นประโยคสั้น ๆ บอกความต้องการของตัวเอง ตลอดทั้งปฏิบัติตามคำสั่งต่าง ๆ ได้ดี รวมทั้งช่วยเหลือตัวเองในการรับประทานอาหาร ดื่มน้ำ ถอด-ใส่เสื้อผ้า ควบคุมการขับถ่ายได้ดังนั้นสิ่งที่พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูควรตระหนักคือ เรื่องความปลอดภัยของอุปกรณ์การเล่น และกิจกรรมการเล่น ไม่ว่าเด็กจะเล่นคนเดียวหรือเล่นกับผู้อื่นก็ตาม เนื่องจากเด็กวัยนี้ไม่เข้าใจถึงอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับตนเองและผู้อื่น มีความคิดว่าทุกสิ่งทุกอย่างตนเองสามารถทำได้หมด และสามารถควบคุมจัดการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง
วันอาทิตย์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2553
นี่ไง แม่ไก่สีแดง 3 ตัว
นิทาน เรื่อง.... แม่ไก่สีแดง (สั้นๆแบบสรุป)
" แม่ไก่สีแดง " ซึ่งวันนี้อาจารย์ได้เรื่องการจัดประสบการณ์ทางภาษาในให้เล่าและวิเคราะห์เรื่องแม่ไก่สีแดง....จากที่ได้ไปศึกษาเนื้อเรื่องแม่ไก่สีแดงดิฉันจะเล่าตามความเข้าใจของฉันนะคะ...เรื่องมีอยู่ว่า...ในบ้านหลังหนึ่งมีสัตว์ 4 ชนิดคือ หมู แมว เป็ด และแม่ไก่สีแดงแม่ไก่สีแดงเป็นสัตว์ที่ขยันกว่าตัวอื่นๆ วันหนึ่งชาวนาจึงให้ข้าวมากระบุงหนึ่ง...แม่ไก่ถามเพื่อนๆว่า "มีใครจะช่วยฉันตำข้าวบ้าง"หมู แมว เป็ดต่างพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า " ไม่ ! "จากนั้นแม่ไก่ก็ถามต่อว่า"ใครจะช่วยฉันขูดมะพร้าวบ้าง" สัตว์ทุกตัวก็ตอบอีกว่า "ไม่"แม่ไก่แดงไปที่กระต่ายขูดมะพร้าว ขูดมะพร้าวคั้นกะทิจนเสร็จ แม่ไก่แดงก็ถามอีกว่า "มีใครจะช่วยฉันติดไฟบ้าง" สัตว์ทุกตัวก็ปฏิเสธการการขอความช่วยเหลือจากแม่ไก่สีแดงพอแม่ไก่แดงติดไฟเสร็จแล้วก็เริ่มหยดน้ำแป้งและน้ำกะทิลงในเบ้าขนมครก พอขนมครกนั้นสุกได้ที่ ก็สิ่งกลิ่นหอมหวนชวนรับประทาน หมู แมว และเป็ด ต่างก็วิ่งมาดูขนมครกรู้สึกอยากกินขนมครกนั้นเป็นอย่างมาก....แม่ไก่สีแดงก็ถามว่า "มีใครอยากช่วยฉันกินขนมครกบ้าง"หมู เป็ดและแมวรีบตอบโดยเร็วว่า "ฉันจะช่วย"แต่แม่ไก่แดงตอบว่า.... "อย่าช่วยฉันเลย,, ฉันทำทุกอย่างได้เอง ฉันตำข้าว โม่แป้ง ขูดมะพร้าว ติดไฟ แคะขนมครกเอง และฉันก็จะกินขนมครกของฉันเองเหมือนกัน" แล้วแม่ไก่สีแดงก็ยกจานขนมครกไปนั่งกินคนเดียวตามลำพัง...."แต่จริงๆแล้วแม่ไก่สีแดงก็อยากให้เพื่อนๆมากินขนมครกด้วยกัน แต่คิดว่าควรให้เพื่อนๆสำนึกสักครั้งว่า ไม่ควรเอาแต่สบายให้เพื่อนทำงานอยู่คนเดียวแล้วหวังผลแต่จะสบาย "หมู เป็ดและแมวรู้สึกเสียใจมาก ดังนั้นในวันต่อๆมาพวกเพื่อนๆจึงไม่ปล่อยให้แม่ไก่สีแดงต้องทำนตามลำพังอีกแต่จะช่วยกันทำงานเสมอ แม่ไก่สีแดงรู้สึกสบายใจ... เพื่อนๆก็มีความสุข^^The End ...จากเรื่องแม่ไก่สีแดง ได้แง่คิดในเรื่องของ" ความสามัคคีกัน "
วันพุธที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2553
ปริศนาคำทาย
1. อาจารย์ตรวจสอบงานปริศนาคำทาย และอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม
- การทำ Power Point
- การจัดรูปแบบตัวอักษร
- สีพื้นหลัง- การใส่รูปภาพ
2. อาจารย์ได้มีการตรวจสอบงานอย่างละเอียดเป็นรายบุคคล ได้มีการชี้แจงสิ่งที่ต้องแก้ไข และเพิ่มเติม อธิบายรูปแบบผลงานโดยรวมว่าต้องมีรายละเอียดอะไรบ้าง ซึ่งอาจารย์ได้มีการยกตัวอย่างให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น และเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ซักถามข้อสงสัย ทำให้บรรยากาศในการเรียนการสอนมีความน่าสนใจ ทุกคนตั้งใจรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับงาน^_^
ปริศนาคำทาย คือ ปัญหาที่ตั้งขึ้นมา เพื่อให้ทายว่าสิ่งนั้นคืออะไร มักขึ้นต้นด้วยคำว่า "อะไรเอ่ย"เช่น
อะไรเอ่ย ปิ้งเเล้วหด บดเเล้วยืดคำตอบ ปลาหมึก
อะไรเอ่ย พอสว่างมันมือ พอมืดมันสว่างคำตอบ ดาว
อะไรเอ่ย นุ่มนิ่มเหมือนปุยฝ้าย ทั่วกายขนฟู หางสั้นกว่าหู ทายดูอะไรคำตอย กระต่าย
ถ้อยคำที่ใช้ในปริศนาทายมักใช้คำที่คล้องจองกันเพื่อให้เกิดความไพเราะ
ที่มาและได้รับอนุญาตจาก :เอกรินทร์ สี่มหาศาล และคณะ. ภาษาไทย ป. 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
- การทำ Power Point
- การจัดรูปแบบตัวอักษร
- สีพื้นหลัง- การใส่รูปภาพ
2. อาจารย์ได้มีการตรวจสอบงานอย่างละเอียดเป็นรายบุคคล ได้มีการชี้แจงสิ่งที่ต้องแก้ไข และเพิ่มเติม อธิบายรูปแบบผลงานโดยรวมว่าต้องมีรายละเอียดอะไรบ้าง ซึ่งอาจารย์ได้มีการยกตัวอย่างให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น และเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ซักถามข้อสงสัย ทำให้บรรยากาศในการเรียนการสอนมีความน่าสนใจ ทุกคนตั้งใจรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับงาน^_^
ปริศนาคำทาย คือ ปัญหาที่ตั้งขึ้นมา เพื่อให้ทายว่าสิ่งนั้นคืออะไร มักขึ้นต้นด้วยคำว่า "อะไรเอ่ย"เช่น
อะไรเอ่ย ปิ้งเเล้วหด บดเเล้วยืดคำตอบ ปลาหมึก
อะไรเอ่ย พอสว่างมันมือ พอมืดมันสว่างคำตอบ ดาว
อะไรเอ่ย นุ่มนิ่มเหมือนปุยฝ้าย ทั่วกายขนฟู หางสั้นกว่าหู ทายดูอะไรคำตอย กระต่าย
ถ้อยคำที่ใช้ในปริศนาทายมักใช้คำที่คล้องจองกันเพื่อให้เกิดความไพเราะ
ที่มาและได้รับอนุญาตจาก :เอกรินทร์ สี่มหาศาล และคณะ. ภาษาไทย ป. 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
ข้อสอบ
1.ในการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยท่านต้องศึกษาในเรื่องใดบ้าง
~ ครูกับแด็กต้องมีการวางแผนกัน คิดร่วมกัน ทำด้วยกัน ซึ่งต้องเป็นบรรยากาศที่มีลักษณะที่ร่วมมือกัน การวางแผนนั้นก็จะมีการวางแผนระยะยาว เพื่อที่จะวางกรอบความคิดกว้างๆ และการวางแผนระยะสั้นโดยที่ครูและเด็กใช้ความคิดพูดคุยปรึกษากันเพื่อหารายละเอียดและขั้นตอนในการทำกิจกรรม~ นอกจากนี้การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยก็จะมี~ การฟังและการพูด ก็คือ เด็กจะได้ยินเสียงพูด แม้ว่าเด็กยังพูดไม่ได้ เด็กก็จะเกิดการเรียนรู้ในการพูด นอกจากนี้แล้ว การพูดของพ่อแม่ต้องให้เหมาะสมกับเด็กด้วย นอกจากการพูดแล้วก็ยังบูรณาการกับการฟัง เพราะเวลาเราพด เด็กจะได้ยินได้ฟังไปด้วย ยิ่งได้ฟังมากก็ทำให้เรียนรู้ได้มาก~ การอ่านและการเขียน การอ่านหนังสือให้เด็กฟังทุกๆวันเป็นสิ่งที่ดีและจำเป็นสำหรับเด็กเพื่อที่จะพัฒนาภาษาเขียน เนื้อหาที่อ่านนั้นต้องเป็นเรื่องใกล้ตัวเด็กเพื่อที่จะเป็นประโยชน์แก่เด็กเอง เพราะว่าเด็กจะมีประสบการณ์เดิมของเขาอยู่แล้ว
2. การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยมีวัตถุประสงค์อะไร·
เพื่อต้องให้เด็กเข้าใจในภาษาต่างๆที่ได้รับรู้เข้ามา· เพื่อต้องการให้เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้ภาษาที่ถูกต้องอย่างชัดเจน· เพื่อต้องการให้เด็กสามารถสื่อสารกับผู้ได้อย่างเข้าใจ
3. หลักการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยมีอะไรบ้าง
· ภาษาต้องประกอบด้วยทักษะ 4ด้านคือ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน· ครูต้องมีบทบาทที่ดีและเข้าใจถึงความแตกต่างของเด็กแต่ละคนในการใช้ภาษา· เด็กที่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นมากๆ จะมีโอกาสใช้ภาษาได้ดีขึ้น
4. ท่านมีแนวทางในการให้ความรู้กับผู้ปกครองเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาได้อย่างไร
1. ให้ผู้ปกครองเล่านิทานให้เด็กฟังทุกๆวัน และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เพื่อได้สังเกตทักษะการฟังของเด็ก
2. ในแต่ละวันผู้ปกครองควรฝึกภาษาที่สองกับเด็ก โดยใช้สื่อที่เป็นบัตรคำ เพื่อได้ฝึกทักษะการอ่านเขียนของเด็ก
3. ผู้ปกครองควรร่วมกิจกรรมกับเด็กบ่อยๆ เพื่อได้สร้างความสัมพันธ์กันมากขึ้น เด็กจะได้มีกำลังใจที่จะทำกิจกรรมนั้นๆ
4. ร่วมร้องเพลงกับเด็ก เพื่อฝึกทักษะการพูด การฟัง การอ่าน แต่เพลงนั้นต้องเป็นเพลงสั้นๆ ได้ใจความ เช่น เพลงที่เป็นคำคล้องจอง เพลง เพลงลูกเป็ด5ตัว5.ให้ท่านเลือกกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาที่ท่านชอบที่สุดพร้อมให้เหตุผล ชื่อ วัตถุประสงค์ กิจกรรม ประเมินผล~ กิจกรรม คือ เอะ เอะ เสียงอะไรหว่า เสียงประกาศ~
วัตถุประสงค์
1. เพื่อต้องการให้เด็กได้เข้าใจภาษาที่มีหลายรูปแบบ
2. เพื่อต้องการให้เด็กได้ทักษะการฟังจากเสียงที่ได้ยิน
3. เพื่อต้องการให้เด็กได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมกับผู้อื่น~ กิจกรรมนำเสียงประกาศต่างๆมาให้เด็กฟัง เช่น น้องอนุบาล2กลับได้ค่ะ, น้องอนุบาล2นำชุดว่ายน้ำมาโรงเรียนด้วยค่ะ เป็นต้นหลังจากนั้น เปิดให้เด็กฟังที่ละประกาศ แล้วตั้งคำถามถามเชิญชวนให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมโดยให้พูดเสียงประกาศตามจินตนาการของเด็ก~ ประเมินผลจากการได้ทำกิจกรรม เด็กให้ความร่วมมือกันดีมาก ตั้งใจฟัง และตอบคำถามกัน แต่เด็กบ้างคนก็จะไม่พูดอะไรบ้างคนก็ไม่ร่วมกิจกรรม แต่ส่วนใหญ่ก็ให้ความร่วมมือกันดี เด็กๆมีความคิดตามจินตนาการของตัวเอง และทักษะการฟังพูดก็ดี~ เหตุผลเนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ไม่น่าเบื่อ นำเสียงต่างๆมาให้เด็กฟังเด็กก็จะเกิดความสงสัย อยากรู้อยากเห็น แต่เสียงที่นำมานั้นต้องเหมาะสม ชัดเจนกับเด็ก
~ ครูกับแด็กต้องมีการวางแผนกัน คิดร่วมกัน ทำด้วยกัน ซึ่งต้องเป็นบรรยากาศที่มีลักษณะที่ร่วมมือกัน การวางแผนนั้นก็จะมีการวางแผนระยะยาว เพื่อที่จะวางกรอบความคิดกว้างๆ และการวางแผนระยะสั้นโดยที่ครูและเด็กใช้ความคิดพูดคุยปรึกษากันเพื่อหารายละเอียดและขั้นตอนในการทำกิจกรรม~ นอกจากนี้การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยก็จะมี~ การฟังและการพูด ก็คือ เด็กจะได้ยินเสียงพูด แม้ว่าเด็กยังพูดไม่ได้ เด็กก็จะเกิดการเรียนรู้ในการพูด นอกจากนี้แล้ว การพูดของพ่อแม่ต้องให้เหมาะสมกับเด็กด้วย นอกจากการพูดแล้วก็ยังบูรณาการกับการฟัง เพราะเวลาเราพด เด็กจะได้ยินได้ฟังไปด้วย ยิ่งได้ฟังมากก็ทำให้เรียนรู้ได้มาก~ การอ่านและการเขียน การอ่านหนังสือให้เด็กฟังทุกๆวันเป็นสิ่งที่ดีและจำเป็นสำหรับเด็กเพื่อที่จะพัฒนาภาษาเขียน เนื้อหาที่อ่านนั้นต้องเป็นเรื่องใกล้ตัวเด็กเพื่อที่จะเป็นประโยชน์แก่เด็กเอง เพราะว่าเด็กจะมีประสบการณ์เดิมของเขาอยู่แล้ว
2. การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยมีวัตถุประสงค์อะไร·
เพื่อต้องให้เด็กเข้าใจในภาษาต่างๆที่ได้รับรู้เข้ามา· เพื่อต้องการให้เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้ภาษาที่ถูกต้องอย่างชัดเจน· เพื่อต้องการให้เด็กสามารถสื่อสารกับผู้ได้อย่างเข้าใจ
3. หลักการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยมีอะไรบ้าง
· ภาษาต้องประกอบด้วยทักษะ 4ด้านคือ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน· ครูต้องมีบทบาทที่ดีและเข้าใจถึงความแตกต่างของเด็กแต่ละคนในการใช้ภาษา· เด็กที่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นมากๆ จะมีโอกาสใช้ภาษาได้ดีขึ้น
4. ท่านมีแนวทางในการให้ความรู้กับผู้ปกครองเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาได้อย่างไร
1. ให้ผู้ปกครองเล่านิทานให้เด็กฟังทุกๆวัน และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เพื่อได้สังเกตทักษะการฟังของเด็ก
2. ในแต่ละวันผู้ปกครองควรฝึกภาษาที่สองกับเด็ก โดยใช้สื่อที่เป็นบัตรคำ เพื่อได้ฝึกทักษะการอ่านเขียนของเด็ก
3. ผู้ปกครองควรร่วมกิจกรรมกับเด็กบ่อยๆ เพื่อได้สร้างความสัมพันธ์กันมากขึ้น เด็กจะได้มีกำลังใจที่จะทำกิจกรรมนั้นๆ
4. ร่วมร้องเพลงกับเด็ก เพื่อฝึกทักษะการพูด การฟัง การอ่าน แต่เพลงนั้นต้องเป็นเพลงสั้นๆ ได้ใจความ เช่น เพลงที่เป็นคำคล้องจอง เพลง เพลงลูกเป็ด5ตัว5.ให้ท่านเลือกกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาที่ท่านชอบที่สุดพร้อมให้เหตุผล ชื่อ วัตถุประสงค์ กิจกรรม ประเมินผล~ กิจกรรม คือ เอะ เอะ เสียงอะไรหว่า เสียงประกาศ~
วัตถุประสงค์
1. เพื่อต้องการให้เด็กได้เข้าใจภาษาที่มีหลายรูปแบบ
2. เพื่อต้องการให้เด็กได้ทักษะการฟังจากเสียงที่ได้ยิน
3. เพื่อต้องการให้เด็กได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมกับผู้อื่น~ กิจกรรมนำเสียงประกาศต่างๆมาให้เด็กฟัง เช่น น้องอนุบาล2กลับได้ค่ะ, น้องอนุบาล2นำชุดว่ายน้ำมาโรงเรียนด้วยค่ะ เป็นต้นหลังจากนั้น เปิดให้เด็กฟังที่ละประกาศ แล้วตั้งคำถามถามเชิญชวนให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมโดยให้พูดเสียงประกาศตามจินตนาการของเด็ก~ ประเมินผลจากการได้ทำกิจกรรม เด็กให้ความร่วมมือกันดีมาก ตั้งใจฟัง และตอบคำถามกัน แต่เด็กบ้างคนก็จะไม่พูดอะไรบ้างคนก็ไม่ร่วมกิจกรรม แต่ส่วนใหญ่ก็ให้ความร่วมมือกันดี เด็กๆมีความคิดตามจินตนาการของตัวเอง และทักษะการฟังพูดก็ดี~ เหตุผลเนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ไม่น่าเบื่อ นำเสียงต่างๆมาให้เด็กฟังเด็กก็จะเกิดความสงสัย อยากรู้อยากเห็น แต่เสียงที่นำมานั้นต้องเหมาะสม ชัดเจนกับเด็ก
วันอังคารที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2553
งานวิจัยการพัฒานทักษะทางภาษาของเด็กปฐมวัย
วิจัย การพัฒนาทักษะทางภาษา โดยการจัดประสบการณ์กิจกรรมการใช้คำคล้องจองประกอบท่าทาง
ชื่อวิจัย การพัฒนาทักษะทางภาษา โดยการจัดประสบการณ์กิจกรรมการใช้คำคล้องจองประกอบท่าทาง
ผู้วิจัย กนกศรี วงษ์ษา
การวิจัยเชิงทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทักษะทางภาษาของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการใช้คำคล้องจองประกอบท่าทาง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนอนุบาลชั้นปีที่ 2 จำนวน 17 คน โรงเรียนวัดใดใหญ่ อ.เมือง จ.ลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ แผนการจัดการประสบการณ์ กิจกรรมการใช้คำคล้องจองประกอบท่าทาง แบบทดสอบความสามารถทางภาษา แบบวัดความรู้ของเด็กปฐมวัย แบบสังเกตุพัฒนาการทางด้านอารมณ์-จิตใจ สังคม สติปัญญา ใช้ t-test ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยตั้งระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.5 ผลการวิจับพบว่า
1. เด็กปฐมวัยที่รับประสบการณ์การใช้คำคล้องจองประกอบท่าทางมีความสามารถด้านการฟังหลังทดลองสูงขึ้น
2. เด็กปฐมวัยที่รับประสบการณ์การใช้คำคล้องจองประกอบท่าทางมีความสามารถด้านการพูดหลังทดลองสูงขึ้น
3. เด็กปฐมวัยที่รับประสบการณ์การใช้คำคล้องจองประกอบท่าทางมีความรู้หลังทดลองสูงขึ้น
4. เด็กปฐมวัยที่รับประสบการณ์การใช้คำคล้องจองประกอบท่าทางมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา หลังทดลองสูงขึ้น
ชื่อวิจัย การพัฒนาทักษะทางภาษา โดยการจัดประสบการณ์กิจกรรมการใช้คำคล้องจองประกอบท่าทาง
ผู้วิจัย กนกศรี วงษ์ษา
การวิจัยเชิงทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทักษะทางภาษาของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการใช้คำคล้องจองประกอบท่าทาง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนอนุบาลชั้นปีที่ 2 จำนวน 17 คน โรงเรียนวัดใดใหญ่ อ.เมือง จ.ลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ แผนการจัดการประสบการณ์ กิจกรรมการใช้คำคล้องจองประกอบท่าทาง แบบทดสอบความสามารถทางภาษา แบบวัดความรู้ของเด็กปฐมวัย แบบสังเกตุพัฒนาการทางด้านอารมณ์-จิตใจ สังคม สติปัญญา ใช้ t-test ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยตั้งระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.5 ผลการวิจับพบว่า
1. เด็กปฐมวัยที่รับประสบการณ์การใช้คำคล้องจองประกอบท่าทางมีความสามารถด้านการฟังหลังทดลองสูงขึ้น
2. เด็กปฐมวัยที่รับประสบการณ์การใช้คำคล้องจองประกอบท่าทางมีความสามารถด้านการพูดหลังทดลองสูงขึ้น
3. เด็กปฐมวัยที่รับประสบการณ์การใช้คำคล้องจองประกอบท่าทางมีความรู้หลังทดลองสูงขึ้น
4. เด็กปฐมวัยที่รับประสบการณ์การใช้คำคล้องจองประกอบท่าทางมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา หลังทดลองสูงขึ้น
วันศุกร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
ฟ ฟันของฉัน
เรื่อง ฟ ฟันของฉัน
แตงโมเป็นเด็กที่ชอบกินขนมลูกอมและลูกกวาดสีสวยๆ มากที่สุด แต่คุณแม่ไม่ชอบให้แตงโมกินขนม ลูกอม คุณแม่มักบอกกับแตงโมเสมอว่า ลูกอมลูกกวาดนั้นนีน้ำตวลที่ทำให้ฟันเราผุ วันนี้คุณยายกลับมาจากต่างประเทศ คุณยายซื้อลูกอมมาฝากแตงโมเยอะแยะเลย แตงโมดีใจมาก คุณยายกลับแล้วแตงโมก็หอบขนมไปกินบนห้องอย่างมีความสุข แม่บอกแตงโมว่ากินลูกอมไม่ประโยชน์นะลูก ถ้าแตงโมกินลูกอม ลูกกวาดแยอะ จะทำให้ปวดฟันนะคะลูก แตงโมไม่เชื่อคุณแม่เมื่อกินขนมเสร็จแตงโมไม่ยองแปรงฟัน บรรณดาแมงกินฟันพากันแอบดูแตงโมอยู่ข้างหน้าต่าง พวกมันเฝ้ารอที่จะเข้าไปในฟันของแตงโม วันรุ้งขึ้นขณะที่แตงโมกำลังอ่านหนังสืออยู่ แตงโมก็ปวดฟัน ร้องไห้วิ่งไปหาคุณแม่ แตงโมจึงอ้าปากให้คุณแม่ดูแล้วบอกว่าปวดซี่ไหน แตงโมปวดฟันมากจนแก้มบวม คุณแม่พูดว่า '' แม่เคยเตือนแตงโมแล้วนะคะ '' ไม่ให้กินขนมหวาน จะทำให้ปวดฟันอย่างนี้ คุณแม่จึงพาแตงโมไปหาลุงหมอ ซึ่งเป็นลุงหมอฟันใจดี ที่ร้านลุงหมอแตงโมพบเด็กๆอีกหลายคน ทุกคนต่างปวดฟันเพราะกินขนม ลูกอมหวานๆ พอลุงหมอรักษาฟันแตงโมเสร็จก็สอนวิธีให้แตงโมแปรงฟันให้สะอาด บ้วนปากหลังกินอาหาร และห้ามกินลูกอม เมื่อแตงโมกลับบ้าน แตงโมจึงพูดกับแม่ว่า '' แตงโมเข็ดแล้วคะคุณแม่ แตงโมจะไม่กินลูกกวาดอีกแล้วค่ะ ''
เพลง แปรงฟัน
ตื่นเช้าล้างหน้าแปรงฟัน แปรงทุกทุกวันฟันจะสวยดี
แปรงขึ้นแปรงลงเข้าสิ วันละสองทีแปรงฟันแปรงฟัน
แตงโมเป็นเด็กที่ชอบกินขนมลูกอมและลูกกวาดสีสวยๆ มากที่สุด แต่คุณแม่ไม่ชอบให้แตงโมกินขนม ลูกอม คุณแม่มักบอกกับแตงโมเสมอว่า ลูกอมลูกกวาดนั้นนีน้ำตวลที่ทำให้ฟันเราผุ วันนี้คุณยายกลับมาจากต่างประเทศ คุณยายซื้อลูกอมมาฝากแตงโมเยอะแยะเลย แตงโมดีใจมาก คุณยายกลับแล้วแตงโมก็หอบขนมไปกินบนห้องอย่างมีความสุข แม่บอกแตงโมว่ากินลูกอมไม่ประโยชน์นะลูก ถ้าแตงโมกินลูกอม ลูกกวาดแยอะ จะทำให้ปวดฟันนะคะลูก แตงโมไม่เชื่อคุณแม่เมื่อกินขนมเสร็จแตงโมไม่ยองแปรงฟัน บรรณดาแมงกินฟันพากันแอบดูแตงโมอยู่ข้างหน้าต่าง พวกมันเฝ้ารอที่จะเข้าไปในฟันของแตงโม วันรุ้งขึ้นขณะที่แตงโมกำลังอ่านหนังสืออยู่ แตงโมก็ปวดฟัน ร้องไห้วิ่งไปหาคุณแม่ แตงโมจึงอ้าปากให้คุณแม่ดูแล้วบอกว่าปวดซี่ไหน แตงโมปวดฟันมากจนแก้มบวม คุณแม่พูดว่า '' แม่เคยเตือนแตงโมแล้วนะคะ '' ไม่ให้กินขนมหวาน จะทำให้ปวดฟันอย่างนี้ คุณแม่จึงพาแตงโมไปหาลุงหมอ ซึ่งเป็นลุงหมอฟันใจดี ที่ร้านลุงหมอแตงโมพบเด็กๆอีกหลายคน ทุกคนต่างปวดฟันเพราะกินขนม ลูกอมหวานๆ พอลุงหมอรักษาฟันแตงโมเสร็จก็สอนวิธีให้แตงโมแปรงฟันให้สะอาด บ้วนปากหลังกินอาหาร และห้ามกินลูกอม เมื่อแตงโมกลับบ้าน แตงโมจึงพูดกับแม่ว่า '' แตงโมเข็ดแล้วคะคุณแม่ แตงโมจะไม่กินลูกกวาดอีกแล้วค่ะ ''
เพลง แปรงฟัน
ตื่นเช้าล้างหน้าแปรงฟัน แปรงทุกทุกวันฟันจะสวยดี
แปรงขึ้นแปรงลงเข้าสิ วันละสองทีแปรงฟันแปรงฟัน
วันศุกร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2553
บันทึกครั้งที่ 6
บันทึกการเรียนในคาบนี้
ประจำวันที่ 15 ม.ค 53
1. อาจารย์ได้ให้นักศึกษาส่งตารางกิจกรรม ที่จะจัดให้น้องในวันอาทิตย์หน้า
2. กลุ่มของดิฉันได้เป็นกลุ่ม 1 คือต้องเล่านิทานให้เด็กฟัง
3. อาจารย์ได้ให้เพื่อนออกไปอ่านปริศนาคำทายที่ตนได้เตรียมมา แล้วอาจารย์ก็ให้ปรับแก้ให้ถูกต้อง
ประจำวันที่ 15 ม.ค 53
1. อาจารย์ได้ให้นักศึกษาส่งตารางกิจกรรม ที่จะจัดให้น้องในวันอาทิตย์หน้า
2. กลุ่มของดิฉันได้เป็นกลุ่ม 1 คือต้องเล่านิทานให้เด็กฟัง
3. อาจารย์ได้ให้เพื่อนออกไปอ่านปริศนาคำทายที่ตนได้เตรียมมา แล้วอาจารย์ก็ให้ปรับแก้ให้ถูกต้อง
วันศุกร์ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2553
บันทึกครั้งที่ 5
1.อาจารย์ได้ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มไปเล่านิทานให้เด็กฟัง โดยให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน โดยให้เล่าตอนเช่า
2.อาจารย์ได้ให้ตัวอย่างปริศนาคำทาย
- ให้ไปทำแบบตัวอย่างมาให้อาจารย์ดู
- แล้วจัดการเป็นรูปเล่ม
2.อาจารย์ได้ให้ตัวอย่างปริศนาคำทาย
- ให้ไปทำแบบตัวอย่างมาให้อาจารย์ดู
- แล้วจัดการเป็นรูปเล่ม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)