วันศุกร์ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

ว้นที่ 13 พ.ย 2552
คำสั่ง อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ให้ศึกษาค้นคว้าเรื่อง หลักการการจัดประสบการณ์ ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

การจัดการเรียนรู้และประสบการณ์สำหรับเด็กที่พูดภาษาถิ่นในเด็กที่พูดภาษาถิ่นในบ้าน เมื่อเข้ามาอยู่ในโรงเรียนการเรียนภาษาไทยเหมือนกับการเรียนภาษาที่สอง แต่สิ่งซึ่งไม่น่ากังวลใจสำหรับครูก็คือ การเรียนภาษาเป็นเรื่องธรรมชาติ เด็กเล็กเมื่อพบกันจะสื่อสารกันได้ โดยไม่จำเป็นต้องพูดภาษาเดียวกัน และเด็กพร้อมจะเรียนรู้ภาษาไทยไปพร้อมๆ กับภาษาถิ่นซึ่งใช้อยู่ที่บ้านรวมทั้งภาษาที่ใช้อยู่จะไม่ปะปนกัน ไม่สับกัน เด็กไม่สนใจด้วยซ้ำว่าพูดภาษาอะไร แต่เขาจะรู้ว่าถ้าพูดกับครู เขาจะพูดด้วยภาษานี้ ถ้าพูดที่บ้านเขาจะพูดอีกอย่างหนึ่ง หรือถ้าไปพบคุณปู่คุณย่าจะต้องใช้ภาษาอีกอย่างหนึ่งผู้ใหญ่หลายคนไม่เชื่อมั่นในศักยภาพของเด็ก ไม่แน่ใจว่าการสอนภาษาไปพร้อมๆ กันจะยากไปหรือไม่ เด็กจะรับไหวไหม ทั้งๆที่ในความเป็นจริงเด็กสามารถเรียนได้ทุกเรื่อง หากมีความสนใจ เมื่ออยู่ในห้องเรียนภาษา ครูอาจใช้ภาษากลางแต่ไม่มีความจำเป็นต้องบังคับว่าในห้องเรียนภาษาไทยพูดภาษาถิ่นไม่ได้ การเชื่อมโยงจากสิ่งที่รู้โดยเด็กรู้จักชื่อภาษาถิ่น นำมาเปรียบเทียบกับภาษาที่ครูสอนจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้ได้ดีขึ้นสิ่งสำคัญครูอย่าพยายามยัดเยียด ดังที่บอกว่าอย่าห้ามใช้ภาษาถิ่นแล้วให้ใช้แต่ภาษาไทยกลาง มิฉะนั้นเด็กจะต่อต้านโดยแสดงอาการไม่รู้เรื่อง ไม่เข้าใจและในที่สุดจะไม่เข้าใจจริงๆ

การจัดการเรียนรู้และประสบการณ์สำหรับเด็กที่พูดภาษาถิ่นในเด็กที่พูดภาษาถิ่นในบ้าน เมื่อเข้ามาอยู่ในโรงเรียนการเรียนภาษาไทยเหมือนกับการเรียนภาษาที่สอง แต่สิ่งซึ่งไม่น่ากังวลใจสำหรับครูก็คือ การเรียนภาษาเป็นเรื่องธรรมชาติ เด็กเล็กเมื่อพบกันจะสื่อสารกันได้ โดยไม่จำเป็นต้องพูดภาษาเดียวกัน และเด็กพร้อมจะเรียนรู้ภาษาไทยไปพร้อมๆ กับภาษาถิ่นซึ่งใช้อยู่ที่บ้านรวมทั้งภาษาที่ใช้อยู่จะไม่ปะปนกัน ไม่สับกัน เด็กไม่สนใจด้วยซ้ำว่าพูดภาษาอะไร แต่เขาจะรู้ว่าถ้าพูดกับครู เขาจะพูดด้วยภาษานี้ ถ้าพูดที่บ้านเขาจะพูดอีกอย่างหนึ่ง หรือถ้าไปพบคุณปู่คุณย่าจะต้องใช้ภาษาอีกอย่างหนึ่งผู้ใหญ่หลายคนไม่เชื่อมั่นในศักยภาพของเด็ก ไม่แน่ใจว่าการสอนภาษาไปพร้อมๆ กันจะยากไปหรือไม่ เด็กจะรับไหวไหม ทั้งๆที่ในความเป็นจริงเด็กสามารถเรียนได้ทุกเรื่อง หากมีความสนใจ เมื่ออยู่ในห้องเรียนภาษา ครูอาจใช้ภาษากลางแต่ไม่มีความจำเป็นต้องบังคับว่าในห้องเรียนภาษาไทยพูดภาษาถิ่นไม่ได้ การเชื่อมโยงจากสิ่งที่รู้โดยเด็กรู้จักชื่อภาษาถิ่น นำมาเปรียบเทียบกับภาษาที่ครูสอนจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้ได้ดีขึ้นสิ่งสำคัญครูอย่าพยายามยัดเยียด ดังที่บอกว่าอย่าห้ามใช้ภาษาถิ่นแล้วให้ใช้แต่ภาษาไทยกลาง มิฉะนั้นเด็กจะต่อต้านโดยแสดงอาการไม่รู้เรื่อง ไม่เข้าใจและในที่สุดจะไม่เข้าใจจริงๆ

แหล่งที่มา http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=kimmattic


บันทึกการเข้าเรียน ( ครั้งที่ 2 )

1. อาจารย์พูดถึงเรื่องการเข้าเรียนต้องแต่งกายให้ถูกระเบียบ เช่น เสื้อไม่ควรใส่คับจนเกินไป กระโปรงไม่ควรใส่สั้น รองเท้าต้องถูกระเบียบ
2. อาจารย์พูดถึงการจัดงานปีใหม่
3. อาจารย์ให้ทำงานของตัวเองให้เรียบร้อย คนที่ยังทำบล็อกไม่เรียบร้อย

วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552


ชื่อ นางสาว สุพัตรา ชัยศรีษะ รหัสนักศึกษา 5111202585
วัน ศุกร์ ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ 2552

การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
หมายถึง การให้เด็กเรียนรู้ผ่านทางครู ครูเป็นผู้ให้คำแนะนำคอยช่วยเหลือหรือกระตุ้นให้เด็กกล้าที่จะเรียนรู้ กล้าคิด กล้าทำ หรือแสดงออกมาในกิริยาหรือวาจาที่สุภาพอ่อนน้อม
บรรณยากาศในห้องเรียน
หนาวมากเลยค่ะ ห้องเรียนหน้าอยู่ เน็ตเร็วน่าใช้มากเล็ยค่ะ ห้องเรียนสะอาดเรียบร้อยบรรณยากาศดีน่าเรียนรู้มากค่ะ
สรุปเรื่องที่อาจารย์พูดมา
ภาษา คือ คำที่พูดออกมา หรือน้ำเสียงที่ออกมาจากปาก แล้วเด็กที่ฟังเกิดการเรียนรู้ เข้าใจสามารถตรงกันได้ หรือถ่ายทอดออกมาผ่านทาง ตา หู จมูก ปาก ประสาทสัมผัส หรือประสาทรับรู้ทั้ง 5
เปรียบเทียบ
จากที่เข้าใจเองกับที่อาจารย์สอนไม่ค่อยตรงกัน เพราะ การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กต้องถ่ายทอดออกมาผ่านทาง ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ปาก และประสาทสัมผัส